จำนวนการดูหน้าเว็บรวม
21 เมษายน 2554
18 เมษายน 2554
Capitalization and punctuations
การใช้เครื่องหมายต่างๆในภาษาอังกฤษ (Punctuation)
การใช้เครื่องหมายต่างๆในภาษาอังกฤษ (Punctuation)
1)เครื่องหมาย full stop หรือ period ( . )
1.1) ใช้ในการจบประโยค ยกเว้นประโยคที่เป็นคำถามหรือประโยคอุทาน
เช่น – We will go for jogging tomorrow morning. After that we will have some- lunch in the city.
1)เครื่องหมาย full stop หรือ period ( . )
1.1) ใช้ในการจบประโยค ยกเว้นประโยคที่เป็นคำถามหรือประโยคอุทาน
เช่น – We will go for jogging tomorrow morning. After that we will have some- lunch in the city.
1.2) ใช้ในคำย่อ
เช่น – etc. p.m. Sat.
เช่น – etc. p.m. Sat.
2)เครื่องหมาย comma ( , )
2.1) ใช้ในการ แยกกลุ่มคำที่อยู่ในหมวดเดียวกันแต่จะถูกละหน้า and หรือ orเช่น – My favorite fruit are strawberry, apple, papaya, pineapple and durian. – You can choose fish, pork, beef or chicken for your main course.
2.1) ใช้ในการ แยกกลุ่มคำที่อยู่ในหมวดเดียวกันแต่จะถูกละหน้า and หรือ orเช่น – My favorite fruit are strawberry, apple, papaya, pineapple and durian. – You can choose fish, pork, beef or chicken for your main course.
2.2) ใช้ในการแยกกลุ่มคำหรืออนุประโยค
เช่น – If you concentrate and participate in class, take note and study hard- before exam, you will not only pass but also get very good marks.
เช่น – If you concentrate and participate in class, take note and study hard- before exam, you will not only pass but also get very good marks.
2.3) ใช้คั่นหน้าและหลังกลุ่มคำหรืออนุประโยคที่ขยายคำนามข้างหน้า
เช่น – The cityhall, which was built in 1853, will be reconstructed in next year.
เช่น – The cityhall, which was built in 1853, will be reconstructed in next year.
2.4) ใช้คั่นระหว่างประโยคสองประโยคที่มี คำเชื่อม เช่น and, as, but, for, orเช่น – I wanted to go to Fenny’s birthday party last night, but unfortunately- I was busy with my work.
2.5) ใช้คั่นคำขึ้นต้นที่เป็นคำ, กลุ่มคำ, กริยา หรือกลุ่มคำที่เป็นกริยาช่วยที่ประยุกต์ใชักับประโยคทั้งประโยค
เช่น – As mentioned before, our organization will start the new management- system next year. – By the way, did you go to see “Blue” concert last night?
เช่น – As mentioned before, our organization will start the new management- system next year. – By the way, did you go to see “Blue” concert last night?
3) เครื่องหมาย colon ( : )
3.1) ใช้เพื่อแยกประโยคหลักเพื่อนำเข้าสู่กลุ่มคำที่อยู่ในหมวดหมู่นั้นที่เป็นลำดับขั้นตอนหรือเป็นเหตุเป็นผล
เช่น – These are our company long-term goals: to spread our product in Asian- market especially HongKong, Taiwan and China; and to increase 3 % in- sale volume. – You have only two choices: go to Chiang Mai with us; or stay home with- your family.
3.1) ใช้เพื่อแยกประโยคหลักเพื่อนำเข้าสู่กลุ่มคำที่อยู่ในหมวดหมู่นั้นที่เป็นลำดับขั้นตอนหรือเป็นเหตุเป็นผล
เช่น – These are our company long-term goals: to spread our product in Asian- market especially HongKong, Taiwan and China; and to increase 3 % in- sale volume. – You have only two choices: go to Chiang Mai with us; or stay home with- your family.
3.2) ใช้เพื่อขยายกลุ่มคำหรืออนุประโยคกับประโยคหลัก ซึ่งเป็นการเขียนแบบเป็นทางการ
เช่น – The situation in Ethiopia is very serious: many people died because of starve.
เช่น – The situation in Ethiopia is very serious: many people died because of starve.
4) เครื่องหมาย semicolon ( ; )
4.1) ในการคั่นประโยคสามารถใช้ semicolon แทนเครื่องหมาย comma ( , ) ได้หากประโยคนั้นมีเครื่องหมาย comma อยู่แล้ว
เช่น – He will follow through his aim; he will not care whatever the cost, even it has effect on someone.
4.1) ในการคั่นประโยคสามารถใช้ semicolon แทนเครื่องหมาย comma ( , ) ได้หากประโยคนั้นมีเครื่องหมาย comma อยู่แล้ว
เช่น – He will follow through his aim; he will not care whatever the cost, even it has effect on someone.
4.2) ใช้ในการเขียนที่เป็นทางการเพื่อคั่นระหว่างอนุประโยค2ประโยคที่ไม่มี
คำเชื่อมแต่มีความหมายเกี่ยวเนื่อง
เช่น – It looks very cloudy today; it might rain soon.
คำเชื่อมแต่มีความหมายเกี่ยวเนื่อง
เช่น – It looks very cloudy today; it might rain soon.
5) เครื่องหมาย question mark (?)
5.1) ใช้วางท้ายสุดในประโยคคำถาม,เช่น – Are you ready to go? Where have you been?
5.1) ใช้วางท้ายสุดในประโยคคำถาม,เช่น – Are you ready to go? Where have you been?
5.2) ใช้เฉพาะกับ วันเดือนปี เพื่อความสงสัย
เช่น – John Marston (?1575-1634)
เช่น – John Marston (?1575-1634)
6) เครื่องหมาย exclamation (!)
ใช้วางหลังประโยคเพื่อแสดงอาการ ตื่นเต้น ดีใจ โกรธ หรือ ตกใจ หรือประโยคคำสั่ง
เช่น – That’s so great! – What! It’s impossible. – Go to your bed!
ใช้วางหลังประโยคเพื่อแสดงอาการ ตื่นเต้น ดีใจ โกรธ หรือ ตกใจ หรือประโยคคำสั่ง
เช่น – That’s so great! – What! It’s impossible. – Go to your bed!
7) เครื่องหมาย apostrophe (‘)
7.1) ใช้คู่กับ s เพื่อแสดงความเกี่ยวดองหรือเป็นเจ้าของ
เช่น – Jane’s coat – Joe’s girlfriend – my sister’s friend
เช่น – Jane’s coat – Joe’s girlfriend – my sister’s friend
7.2) เพื่อทำให้รูปแบบสั้นขึ้นโดยใช้ละแทนตัวอักษรหรือตัวเลขนั้น
เช่น – He’s (He is) – You’re (You are) – They’d (would) – the summer of’ 99 (1999)
เช่น – He’s (He is) – You’re (You are) – They’d (would) – the summer of’ 99 (1999)
7.3) บางครั้งใช้กับ s เพื่อทำให้เป็นรูปพหูพจน์ต่อจากตัวอักษรย่อหรือตัวเลขย่อ
เช่น – lend me your r’s – during 1980′s
เช่น – lend me your r’s – during 1980′s
8) เครื่องหมาย hyphen (-)
8.1) ใช้ในการผสมคำตั้งแต่ 2 คำขึ้นไป
เช่น – pipe-cleaner – one-to-one
8.1) ใช้ในการผสมคำตั้งแต่ 2 คำขึ้นไป
เช่น – pipe-cleaner – one-to-one
8.2) ใช้ในการสร้างคำใหม่จาก prefix (คำอุปสรรค) กับคำนามเฉพาะ
เช่น – pre-Neolism – pro-European
เช่น – pre-Neolism – pro-European
8.3) ใช้คั่นระหว่างการเขียนเลขจำนวน 21 ถึง 99เช่น – 69 sixty-nine – 23 twenty -three
8.4)ใช้คั่นระหว่าง prefix ที่ลงท้ายด้วยสระซึ่งเป็นตัวเดียวกับคำขึ้นต้นของคำนามที่นำมาผสม
เช่น – co-ordinator – pre-emption
เช่น – co-ordinator – pre-emption
8.5) ใช้เชื่อมคำๆเดียวที่อยู่ต่อกันระหว่างบรรทัด
เช่น – We may choose to withdraw and protect ourselves from pain.
เช่น – We may choose to withdraw and protect ourselves from pain.
9) เครื่องหมาย dash (–) 9.1) ใช้ในการเขียนอย่างไม่เป็นทางการ แทนเครื่องหมาย colon หรือ semicolonเพื่อบ่งชี้ว่าข้อความที่ตามมานั้นเป็นบทสรุปจากข้อความที่กล่าวมาข้างหน้า
เช่น – Lucy looks very happy today and so do Paul-they are in love.
เช่น – Lucy looks very happy today and so do Paul-they are in love.
9.2) ใช้คั่นระหว่างคำวิจารณ์ หรือ ความคิดที่เพิ่มเติมในภายหลัง
เช่น – He knows every scope of this job— or he did it before.
เช่น – He knows every scope of this job— or he did it before.
10) เครื่องหมาย dots หรือ ellipsis (…) ใช้เพื่อละความยาวของข้อความ มักจะเป็นข้อความที่อ้างอิงมาจากผู้อื่นหรือ
บทสนทนาที่มีความยาว
เช่น “Romance not only light a candle or bring home flowers, it builds bridge of friendship, caring …to the arms of his or her eager love.” ( Yagel: 19, 1995)
บทสนทนาที่มีความยาว
เช่น “Romance not only light a candle or bring home flowers, it builds bridge of friendship, caring …to the arms of his or her eager love.” ( Yagel: 19, 1995)
11) เครื่องหมาย slash หรือ oblique ( / )
ใช้คั่นระหว่าง คำที่เสนอวิธีเลือกหรือกลุ่มคำ
เช่น – have a coffee/ tea /or orange juice – shirt/ pants/ blouse/skirt
ใช้คั่นระหว่าง คำที่เสนอวิธีเลือกหรือกลุ่มคำ
เช่น – have a coffee/ tea /or orange juice – shirt/ pants/ blouse/skirt
12) เครื่องหมาย quotation marks (‘ ‘, ” “)
12.1) ใช้ล้อมคำและเครื่องหมายในประโยค direct speech (คำพูดทางตรง) เช่น – ‘What time will he arrive here?’ John asked. – ‘Around 6.00 p.m.’ Kate replied.
12.2) ใช้เพื่อดึงดูดความสนใจว่าคำนั้น แปลกไปจากบริบท มักใช้ใน ข้อความที่เป็นแสลง
หรือ คำที่บ่งชี้ความตรงกันข้ามกัน (irony) เช่น – People look stress and lifeless in the country named ‘land of smile’.
หรือ คำที่บ่งชี้ความตรงกันข้ามกัน (irony) เช่น – People look stress and lifeless in the country named ‘land of smile’.
12.3) ใช้เน้นคำเฉพาะที่เป็นชื่อบทความ, หนังสือ, โคลงกลอน, ละครหรือการแสดง
เช่น – I am going to see ‘Shakespeare in love’. – Hemmingway’s ‘The old man and the sea’
เช่น – I am going to see ‘Shakespeare in love’. – Hemmingway’s ‘The old man and the sea’
12.4) ใช้ล้อมข้อความอ้างอิงสั้นๆหรือคำพูด
เช่น – One way to build a good communication is ‘sharing motions that we- favor ignoring’
เช่น – One way to build a good communication is ‘sharing motions that we- favor ignoring’
12.5) หากเป็นคำอ้างอิงที่ซ้อนอยู่ในประโยคอ้างอิงจะมีลักษณะการใช้ดังต้อไปนี้
เช่น – ‘Have you any idea,’ he said, ‘where “Ryan Street” is?’ (หรือ)
“Have you any idea,” he said, “where ‘Ryan Street’ is?”
เช่น – ‘Have you any idea,’ he said, ‘where “Ryan Street” is?’ (หรือ)
“Have you any idea,” he said, “where ‘Ryan Street’ is?”
13) เครื่องหมาย brackets หรือ parentheses ( )
13.1) ใช้เพื่อแยกข้อมูลพิเศษ หรือ ข้อคิดเห็นเพิ่มเติม ภายในประโยคหรือท้ายประโยค
เช่น – Phi Phi Island (lies about 3 km from the mainland) comprises two islands. – Kiwi now (originated from China) is a very famous fruit in NewZealand.
13.1) ใช้เพื่อแยกข้อมูลพิเศษ หรือ ข้อคิดเห็นเพิ่มเติม ภายในประโยคหรือท้ายประโยค
เช่น – Phi Phi Island (lies about 3 km from the mainland) comprises two islands. – Kiwi now (originated from China) is a very famous fruit in NewZealand.
13.2) ใช้ล้อม การอ้างอิงไปยังหน้าอื่นของหนังสือ
เช่น – Body language is an important part of effective communication (see next chapter).
เช่น – Body language is an important part of effective communication (see next chapter).
13.3) ใช้ล้อมตัวเลข หรือ อักษรในข้อความ
เช่น – The main subjects in this chapter are (1) Strategic business unit- (2) Strategic thinking process (3) Strategic evaluation.
เช่น – The main subjects in this chapter are (1) Strategic business unit- (2) Strategic thinking process (3) Strategic evaluation.
วันนี้มีวิธีเรียกสัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่เราพบเห็นกันบ่อย ๆ มาฝากค่ะ
1. เครื่องหมายจุลภาค (เครื่องหมาย , ) : Comma
ใช้สำหรับคั่นตัวเลขจำนวนมาก ช่วงละ 3 ตัวเลข และใช้คั่นข้อความที่ระบุรายการต่าง ๆ
2. เครื่องหมายทวิภาค (เครื่องหมาย : ) : Colon
ใช้สำหรับคั่นข้อความหลักกับส่วนที่มาขยาย ส่วนที่ขยายจะอยู่ด้านหลังเครื่องหมาย ใช้แสดงมาตราส่วน เช่น 1:3 และใช้คั่นระหว่างตัวเลขชั่วโมงกับตัวเลขนาที เช่น 13:30
3. เครื่องหมายมหัพภาค (เครื่องหมาย . ) : Period / Full Stop
ใช้สำหรับจบข้อความ ใช้เขียนหลังตัวอักษรย่อ และใช้คั่นระหว่างตัวเลขชั่วโมงกับตัวเลขนาที เช่น 13.30
4. เครื่องหมายอัฐภาค (เครื่องหมาย ; ) : Semicolon
4.1 ใช้เชื่อมประโยคสองประโยคที่มีความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง แต่แทนที่เราจะใช้บุพบทเช่น and หรือ but เชื่อม เราสามารถใช้ Semicolon คั่นแทน เช่น Twelve workers started the project; only five remain. This could be a complete sentence; this could be another one. กรณีที่คุณใช้ and คุณจะต้องใช้เครื่องหมาย Comma คั่นก่อน and และไม่ต้องใช้ Semicolon
4.2 ใช้แทนเครื่องหมาย Comma กรณีที่คำที่ต้องการคั่นมีเครื่องหมาย Comma อยู่แล้ว เช่น
ตัวอย่าง We visited Pago Pago, Western Samoa; Curitiba, Brazil; and St. George, Utah.
(Pago Pago อยู่ที่ Western Samoa Curitiba อยู่ที่ Brazil ส่วน St. George อยู่ที่ Utah ในการไปครั้งนี้เราไปสามที่ แต่ว่าอธิบายต่อด้วยว่าแต่ละที่อยู่ประเทศอะไร ดังนั้น วิธีการเขียนคือใช้ Comma คั่นระหว่างขอบเขตที่เล็กกว่าเช่น เมือง กับขอบเขตที่ใหญ่กว่า เช่น ประเทศ ซึ่งจะอยู่ข้างหลัง Comma ซึ่งพอใช้ Comma อธิบายคู่ของเมืองกับประเทศไปแล้ว จึงใช้ Semicolon คั่นแต่ละคู่นั้นอีกทีหนึ่ง)
ตัวอย่าง The trio’s birthdays are November 10, 1946; December 7, 1947; and October 31, 1950.
(เช่นเดียวกับตัวอย่างด้านบน แต่คราวนี้เป็นการอธิบายชุดของวันเกิด 3 ชุด ซึ่งบอกวันเดือนปีเกิด ซึ่งประกอบด้วย Comma จึงใช้ Semicolon คั่นแต่ละชุดอีกที)
ตัวอย่าง Her favorite players are Steve Young, a quarterback; Jason Buck, a defensive end; and Ty Dittmer, another quarterback.
(ประโยคนี้ เป็นการอธิบายตำแหน่งของผู้เล่นแต่ละคนซึ่งใช้เครื่องหมาย Comma ไปแล้ว จึงใช้ Semi-colon สำหรับคั่นคู่ของชื่อกับตำแหน่งอีกทีหนึ่ง)
5. เครื่องหมายอัญประกาศ (” ” หรือ ‘ ‘) : Quotation Marks
6. เครื่องหมายนขลิขิตหรือวงเล็บ ( ) : Parentheses หรือ Round Brackets
7. เครื่องหมายวงเล็บปีกกา [ ] : Square Brackets
8. เครื่องหมาย { } : Curly Bracket
9. เครื่องหมายขีดกลาง – : Dash หรือ Hyphen
10. เครื่องหมายทับ / : Slash หรือ Stroke
11. เครื่องหมาย & : Ampersand
12 เครื่องหมาย @ : At Sign
13 เครื่องหมายดอกจัน * : Asterisk (อ่านว่า ‘as-tu,risk)
14. เครื่องหมาย / : Backslash
15. เครื่องหมาย : Bullet (อ่านว่า bu-lit)
16. เครื่องหมาย ‘ : Apostrophe (อ่านว่า u’pos-tru-fee)
17. เครื่องหมาย ! : Exclamation mark
18. เครื่องหมาย ? : Question mark
19. เครื่องหมายเว้นวรรค : Space
20. เครื่องหมาย : Tilde (อ่านว่า til-du)
21. เครื่องหมาย _ : Underscore
22. เครื่องหมาย : Therefore sign
23. เครื่องหมาย : Because sign
หลักการใช้อักษรตัวพิมพ์ใหญ่ (Capitalization)
หลักการใช้อักษรตัวพิมพ์ใหญ่ (Capitalization) 1) ใช้กับชื่อคนและสถานที่
เช่น Mary Jane, London, Elizabeth Street, New South Wales,
the Great Barrier Reef, the Botanic Garden
เช่น Mary Jane, London, Elizabeth Street, New South Wales,
the Great Barrier Reef, the Botanic Garden
2) ชื่อที่ใช้เรียกคนและภาษาของประเทศต่างๆ หรือบางคำที่เกี่ยวข้องที่ดึงมาจากคำเหล่านั้น
เช่น Australian, Greek, Mandarin, Englishman, Americanize
เช่น Australian, Greek, Mandarin, Englishman, Americanize
3) ชื่อของสถาบัน, สมาคม, องค์กร และ สมาพันธ์
เช่น the Institutional of TAFE, the Royal Embassy, the Department of Agriculture,
the Arts Museum
เช่น the Institutional of TAFE, the Royal Embassy, the Department of Agriculture,
the Arts Museum
4) ชื่อของสถาบันทางศาสนา, สำนัก, นิกาย หรือ บุคคลที่เลื่อมใส
เช่น Catholic, Islam, Judaism, Taoism
เช่น Catholic, Islam, Judaism, Taoism
5) องค์กรหรือสถาบันทางสังคม
เช่น the Polo Club, the Japanese Student Societies
เช่น the Polo Club, the Japanese Student Societies
6) ชื่อของเดือนและวันสำคัญต่างๆ
เช่น September, Sonoran Day, Boxing Day
เช่น September, Sonoran Day, Boxing Day
7) ชื่อในรูปแบบที่ปรากฏออกมาเป็นนามธรรม
เข่น the Proof of Life, Oh Dear
เข่น the Proof of Life, Oh Dear
8) ฉายาหรือสมญานาม
เช่น a Blue in University sport
เช่น a Blue in University sport
9) ชื่อของสิ่งอื่นๆที่ไม่เป็นส่วนตัว
เช่น the Flying Scotsman
เช่น the Flying Scotsman
10) คำโบราณ หรือคำที่เกี่ยวข้องกับประเพณีในสมัยเก่า
เช่น Chauvinistic, Guillotine
เช่น Chauvinistic, Guillotine
11) ชื่อที่เป็นเครื่องหมายทางการค้า
เช่น Hoover, Xerox, Sony หรือชื่อที่มีความสัมพันธ์กับผู้ผลิต เช่น Jaguar, Spitfire ศัพท์เฉพาะบางคำเช่นชื่อ ที่เป็นกรรมสิทธิ์หรือเจ้าของกิจการซึ่งปัจจุบันจะขึ้นต้นด้วยอักษร
ตัวพิมพ์เล็ก เช่น baby buggy, biro, jeep
เช่น Hoover, Xerox, Sony หรือชื่อที่มีความสัมพันธ์กับผู้ผลิต เช่น Jaguar, Spitfire ศัพท์เฉพาะบางคำเช่นชื่อ ที่เป็นกรรมสิทธิ์หรือเจ้าของกิจการซึ่งปัจจุบันจะขึ้นต้นด้วยอักษร
ตัวพิมพ์เล็ก เช่น baby buggy, biro, jeep
12) ใช้กับคำขึ้นต้นที่เป็นตำแหน่ง
เข่น His Royal Highness the Prince of Wales, President Carter, Sir John Smith,
Lord Chief Justice, Lieutenant-Colonel, Vice-President
เข่น His Royal Highness the Prince of Wales, President Carter, Sir John Smith,
Lord Chief Justice, Lieutenant-Colonel, Vice-President
13) ใช้กับบุรุษสรรพนาม ” I ” และ คำอุทาน Oh.
14)ใช้กับคำที่เกี่ยวกับพระเจ้า
เข่น God, Father, Allah, Almighty
เข่น God, Father, Allah, Almighty
15) ใช้กับคำ ๆ แรกหรือคำอื่น ๆ ที่มีความสำคัญของชื่อหนังสือ หนังสือพิมพ์ ละคร
ภาพยนตร์ และรายการทางโทรทัศน์ ชื่อหัวข้อ และบทความต่าง ๆ
เช่น The Catcher in the Rye, Sense and Sensibility, Book of Common Prayer,
New Testament, The Courier Mail, Guide to the Use of the Dictionary
ภาพยนตร์ และรายการทางโทรทัศน์ ชื่อหัวข้อ และบทความต่าง ๆ
เช่น The Catcher in the Rye, Sense and Sensibility, Book of Common Prayer,
New Testament, The Courier Mail, Guide to the Use of the Dictionary
16) ใช้กับยุคสมัยและเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
เช่น the Golden Ages, Early Minoan, the Renaissance, the Second World War
เช่น the Golden Ages, Early Minoan, the Renaissance, the Second World War
17) การแบ่งเวลาตามภูมิศาสตร์ ที่ไม่ใช่ตามแบบยุคทางโบราณคดี
เช่น Devonian, Paleozoic (ไม่ใช้ใน Neolithic)
เช่น Devonian, Paleozoic (ไม่ใช้ใน Neolithic)
18) ใช้ในการเขียนคำย่อที่มีหรือไม่มีเครื่องหมายมหัพภาค (Full stop) กำกับก็ได้
เช่น ASP, FAM., LCD
เช่น ASP, FAM., LCD
19) ใช้กับคำย่อที่บอกทิศทาง เช่น N., SE, NE หรือเมื่อต้องการบ่งชี้ถึงภูมิภาค
เช่น unemployment in the North
เช่น unemployment in the North
20) ใช้ขึ้นต้นบรรทัดของการเขียนกลอนในภาษาอังกฤษ
21) ใช้กับคำหรือชื่อเฉพาะอื่นๆได้ เช่น McDonald, O’Reilly เครื่องหมายการค้าและ
คำบางคำในภาษาต่างประเทศ
คำบางคำในภาษาต่างประเทศ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)